gong_bee_gees
AFS#46 Italy
เขียนทั้งหมด: 40
กลุ่ม: Registered
เข้าร่วม: 26 Oct 2007
สถานะ: Offline
ความนิยม: 0
[no subject]
ขอโทษนะครับ แต่ช่วยกรุณาพิมพ์ให้ถูกตามหลักภาษาได้ไหมครับ แล้วก็กรุณาอย่าใช้ภาษาพูดด้วยนะครับ ด้วยความเคารพครับ ขอบคุณมากครับ
--------------------------------------------------------------------------------
กรุณาอ่าน
เกิดเป็นคนไทย กรุณาใช้ภาษาไทยให้ถูกต้อง เลิกใช้ภาษาปาก,ภาษาวัยรุ่น,ภาษาแอ๊บแบ๊ว ร่วมกันรณรงค์การใช้ภาษาไทยให้ถูกต้อง มิฉะนั้นภาษาไทยจะกลายเป็นภาษาวิบัติ
........................................................................................
หัทยา
ขอตอบดังนี้...
ก่อนอื่นต้องขอ..ขอบคุณมากครับ ที่กรุณาเเนะนำ
เเต่ผมอาจ ผิดไปเเล้วจริงๆ กราบขออภัย ด้วยนะครับ
มีเเค่ความตั้งใจ จะสื่อสาร ที่พิมพ์เเบบนี้...คง รีบพิมพ์ ...เพราะงานยุ่งมาก ..
.เเต่...อยาก ให้ข้อมูล เเละ ช่วยเหลือผู้อื่น เช่น ดังข้างต้น
หาก กระดากตา สะเทือนจิตวิญญาณ ต้องขออภัยอย่างยิ่งครับ
เเละ คงต้องกล่าวโทษ **บทเขียน ของนักเขียนทุกคน ที่สื่อสาร ประโยชน์ ได้เข้าใจ เเต่..ใช้ภาษาพูด การสื่อสารที่ ผิดหลักภาษาไทย ** .
จริงๆเเล้ว..
..ไม่มีความจำเป็นใดๆ ต้องมาเล่น ตั้งคำถาม สงสัย อยากรู้อะไรมากนัก เพราะ..ไม่ค่อยสงสัยอะไร
มาเพราะ..ชอบไมตรี เเห่งที่นี่ หากไมตรีข้าพเจ้า ด่างพร้อย
ก็เสียเวลาทำการใดๆที่นี่
สิ่งที่เคยผ่านมา คือ... เรียน ภาษาไทย ได้ เกรด4 ตลอดสมัย มัธยม ...เเละ a ทุกเทอม ถ้ามีเรียนภาษาไทย
นอกเหนือจากงานดนตรี
การประกวด การเขียนกลอน เรื่องสั้น เเต่งเนื้อเพลง ชนะบ้าง ร่วมเเสดงบ้าง ข้าพเจ้าทำมาหากิน กับ ศิลปะของภาษา มาตลอด
ในวันนี้
ต้องกราบ ขอคมา..ครู อาจารย์ทั้งหลาย ... ที่ข้าพเจ้า โดนกล่าวโทษ บกพร่อง ทำให้ ภาษาไทย ต้องด่างพร้อย ซึ่งจริงๆเเล้ว ในดนตรี ข้าพเจ้า ก็ ทำลายกฏ เเละ รูปเเบบเช่นกัน ทำทุก อย่าง เพื่อ การสื่อสารเท่านั้น
หวังว่า คงได้รับ เมตตา......
...........อภัยเเก่การทำลายระบบ ของ ข้าพเจ้าด้วย
กราบขอบพระคุณ..ครูบา อาจารย์ ทั้งหลาย
.ยกไรมาอ่านเล่นๆมะ
.................................................................................................................................................
ในทุกปี กรมกอง เกี่ยวกับภาษาของรัฐ เเละ เอกชน จำนวนหนึ่ง จะรวบรวม ข้อมูล จากทุกสื่อ เพื่อ ทำการบันทึก เปลี่ยนเเปลง ปรับปรุงการใช้ภาษา อยู่ ตลอด
การปรับปรุงเปลี่ยนเเปลง..ในภาษาเขียน เกิดจากการ บันทึก สิ่งที่นิยมใช้ เเพร่หลาย
เเละ ทำการบันทึก เพื่อให้ การเกิดความเข้าใจ ในเเนวทาง ลักษณะเดียวกัน
ขออนุญาติอ้างอิง
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A0%E...3%E0%B9%8C
ภาษาพูดและภาษาเขียน
นักภาษาศาสตร์ร่วมสมัยส่วนใหญ่มักจะทำวิจัยภายใต้สมมติฐานที่ว่า ภาษาพูด นั้นเป็นหลักพื้นฐาน และมีความสำคัญต่อการศึกษามากกว่าภาษาเขียน เหตุผลที่สนับ
สนุนข้อสมมติฐานดังกล่าว ได้แก่
ภาษาพูดเป็นสิ่งสากลสำหรับมนุษย์ (human-universal) ในขณะที่หลายวัฒนธรรมและหลายชุมชนภาษาพูดไม่มีภาษาเขียน
**มนุษย์สามารถเรียนรู้การพูดและการประมวลผลภาษาพูดได้ง่ายกว่า และง่ายกว่าการเขียนมากๆ **
นักวิทยาศาสตร์การรับรู้ของมนุษย์ จำนวนหนึ่งอ้างว่า สมองมีโมดูลภาษา โมดูลภาษาในที่นี้เป็นสัญชาตญาณซึ่ง ความรู้ที่ภายหลังสามารถเพิ่มเติมได้โดยการเรียนรู้ภาษาพูดมากกว่าเรียนรู้จากภาษาเขียน
**โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เนื่องมาจากภาษาพูดนั้นเป็นปรับใช้ตามวิวัฒนาการ ในขณะที่ภาษาเขียนนั้น เมื่อเทียบแล้วเป็นการประดิษฐ์ที่ตามมาทีหลัง **
แน่นอน นักภาษาศาสตร์ยังคงเห็นพ้องกันว่า การศึกษาภาษาเขียนก็มีคุณค่าเช่นเดียวกัน สำหรับงานวิจัยด้านภาษาศาสตร์ที่ใช้วิธีการภาษาศาสตร์คลังข้อมูล และภาษาศาสตร์เชิงคำนวณแล้ว ภาษาเขียนย่อมสะดวกต่อการประมวลผลข้อมูลทางภาษาศาสตร์ขนาดใหญ่มากกว่า คลังข้อมูล ขนาดใหญ่สำหรับภาษาพูดนั้น สร้างและแสวงหาได้ยาก อย่างไรก็ตามคลังเอกสารสำหรับภาษาพูดก็ยังคงใช้กันโดยทั่วไปในรูปแบบของการถอดความ
นอกจากนี้ การศึกษาระบบการเขียน ก็ยังเป็นแขนงหนึ่งของภาษาศาสตร์อีกด้วย
มุมมองแคบของภาษาศาสตร์
คำว่า ภาษาศาสตร์ และ นักภาษาศาสตร์ อาจจะไม่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้กว้างขวางอย่างที่ได้กล่าวไว้ข้างบนก็ได้ ในบางกรณี คำนิยามที่ดีที่สุดสำหรับคำว่า ภาษาศาสตร์ คงจะเป็น วิชาที่สอนกันในภาควิชาภาษาศาสตร์ของมหาวิทยาลัย และ นักภาษาศาสตร์ ก็คงจะเป็น ผู้ที่เป็นศาสตราจารย์ในภาควิชาภาษาศาสตร์ ภาษาศาสตร์ในมุมมองแคบมักจะไม่ได้กล่าวถึงการเรียนเพื่อพูดภาษาต่างประเทศ (ยกเว้นว่าจะช่วยให้เห็นโมเดลฟอร์มอลของภาษาได้ดีขึ้น) และก็ไม่ได้รวมเอาการวิเคราะห์วรรณกรรม (Literary analysis) ไว้เลย มีเพียงบางครั้งเท่านั้นที่อาจจะมีการศึกษาเนื้อหาบางอย่างตามความจำเป็น เช่น อุปลักษณ์ (metaphor]]) บางครั้งนิยามเหล่านี้ก็ไม่สามารถนำมาใช้กับงานวิจัยในแนวกำหนดกฏเกณฑ์ได้ ดังเช่นที่พบในงาน มูลฐานแห่งวัจนลีลา (The Element of Style) ของ สทรังค์ (William Strunk, Jr.) และ ไวท์ (E. B. White)
นักภาษาศาสตร์มักจะเป็นผู้ค้นหาว่า
**ผู้ใช้ภาษาใช้ภาษาอย่างไร มากกว่าที่จะไปกำหนดว่าผู้ใช้ภาษาควรใช้ภาษาอย่างไร**
การตัดสินว่าใครเป็นหรือไม่เป็นนักภาษาศาสตร์นั้น เป็นไปได้ว่าต้องใช้เวลานานในการตัดสิน
บรรณานุกรม
ตำรา
Akmajian, Adrian et al (2001), Linguistics, 5th ed., MIT Press. (ISBN 0262511231)
Lyons, John (1995), Linguistic Semantics, Cambridge University Press. (ISBN 0521438772)
O'Grady, William D., Michael Dobrovolsky & Francis Katamba [eds.] (2001), Contemporary Linguistics, Longman. (ISBN 0582246911) - Lower Level
Taylor, John R. (2003), Cognitive Grammar, Oxford University Press. (ISBN 0198700334)
Ungerer, Friedrich & Hans-Jorg Schmid (1996), An Introduction to Cognitive Linguistics, Longman. (ISBN 0582239664)
งานวิชาการ
Fauconnier, Gilles
(1995), Mental Spaces, 2nd ed., Cambridge University Press. (ISBN 0521449499)
(1997), Mappings in Thought and Language, Cambridge University Press. (ISBN 0521599539)
& Mark Turner (2003), The Way We Think, Basic Books. (ISBN 0465087868)
Rymer, p. 48, quoted in Fauconnier and Turner, p. 353
Sampson, Geoffrey (1982), Schools of Linguistics, Stanford University Press. (ISBN 0804711259)
Sweetser, Eve (1992), From Etymology to Pragmatics, repr ed., Cambridge University Press. (ISBN 0521424429)
งานที่เป็นที่รู้จักกัน
Deacon, Terrence (1998), The Symbolic Species, WW Norton & Co. (ISBN 0393317544)
Pinker, Steven
(2000), The Language Instinct, repr ed., Perennial. (ISBN 0060958332)
(2000), Words and Rules, Perennial. (ISBN 0060958405)
Rymer, Russ (1992), Annals of Science in "The New Yorker", 13th April
อ้างอิง
Aronoff, Mark & Janie Rees-Miller [eds.] (2003), The Handbook of Linguistics, Blackwell Publishers. (ISBN 1405102527)
Malmkjaer, Kirsten [ed.] (2004), The Linguistics Encyclopedia, 2nd ed., Routledge. (ISBN 0415222109)
Skeat, Walter W. (2000), The Concise Dictionary of English Etymology, repr ed., Diane. (ISBN 0788191616)
แหล่งข้อมูลอื่น
ไดเรกทอรีของยาฮูเกี่ยวกับภาษาศาสตร์และภาษามนุษย์
The Global Language Monitor
Amazon.com Books - Linguistics
"Linguistics" section of A Bibliography of Literary Theory, Criticism and Philology, ed. J. A. García Landa (University of Zaragoza, Spain
อ้างอิง
Aronoff, Mark & Janie Rees-Miller [eds.] (2003), The Handbook of Linguistics, Blackwell Publishers. (ISBN 1405102527)
Malmkjaer, Kirsten [ed.] (2004), The Linguistics Encyclopedia, 2nd ed., Routledge. (ISBN 0415222109)
Skeat, Walter W. (2000), The Concise Dictionary of English Etymology, repr ed., Diane. (ISBN 0788191616
จากมุมมองต่างๆ เหล่านี้ นักภาษาศาสตร์ หรือนักภาษาศาสตร์เชิงทฤษฎี โดยทั่วไป มักจะศึกษาภาษาศาสตร์แบบไม่พึ่งพาบริบท ในเชิงทฤษฎี เฉพาะยุคสมัย (independent theoretical synchronic linguistics) ซึ่งเป็นที่รู้กันว่าเป็นแก่นของวิชาภาษาศาสตร์
ผู้เชี่ยวชาญต่างๆ ได้ตั้งประเด็นคำถามและทำวิจัยทางด้านภาษาศาสตร์ไว้อย่างกว้างขวาง ซึ่งบางประเด็นก็ยังหาข้อสรุปไม่ได้ ดังที่ รัส ไรเมอร์ (Russ Rymer) ได้กล่าวเอาไว้อย่างละเอียดว่า
"ภาษาศาสตร์เป็นทรัพย์สินที่มีการโต้เถียงกันอย่างเผ็ดร้อนที่สุดโดยหาจุดยุติไม่ได้ในวงการวิชาการ ภาษาศาสตร์โชกชุ่มไปด้วยหยาดโลหิตของนักกวี นักศาสนวิทยา นักปรัชญา นักภาษาโบราณ นักจิตวิทยา นักชีววิทยา และนักประสาทวิทยา รวมทั้งเลือดของนักไวยากรณ์เท่าที่จะสามารถเอาออกมาได้"
(Linguistics is arguably the most hotly contested property in the academic realm. It is soaked with the blood of poets, theologians, philosophers, philologists, psychologists, biologists, and neurologists, along with whatever blood can be got out of grammarians
ขอบคุณที่อ่านจนถึงบรรทัดนี้..........
.ภาษา.. เป็นเรื่องของการสื่อสาร
วัฒนธรรม ..เป็นสิ่งที่มีการเคลื่อนไหว เปลี่ยนเเปลง พัฒนาตลอด
ข้าพเจ้าอ่อนน้อม ถ่อมตน ในบางเวลา
เเต่สร้างสรรค์ประโยชน์ เเก่บ้านเมือง เป็นสิ่งที่ต้องทำตลอดเวลา
หากไม่สร้าง จงอย่าทำลาย
............. ;?? ?..............
*.:??*Parradee ...A Journey of Us - ?.:* *.:??*?;??
อย่าไปเอาอะไรกับนักเขียนนิยาย